
- ชมรมเลปโตสไปโรสิสฯ
- ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
- ข่าวสารสำหรับประชาชนเรื่องโรคติดต่อทั่วไปและภัยสุขภาพ
- ข่าวประชาสัมพันธ์
- จัดซื้อ/จัดจ้าง/เสนอแนะวิจารณ์
- สถานการณ์โรค
- คำรับรองการปฏิบัติราชการ
- ผลการดำเนินงาน
- KM สำนัก ต.
- เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 2559
- ปฏิทินกิจกรรม
- ภาพกิจกรรม
- สื่อ-สิ่งพิมพ์เผยแพร่
- สื่อมัลติมีเดีย
- เว็บลิงค์
- ถาม - ตอบ ข้อสงสัยเกี่ยวกับเว็บสำนักโรคติดต่อทั่วไป
- e-learning
- English Zone
- gcd_cars and drivers
- แบบฟอร์ม


พระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว์ พ.ศ. 2499
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ให้ไว้ ณ วันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2499
เป็นปีที่ 11 ในรัชกาลปัจจุบัน
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า
โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยโรคระบาดสัตว์
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคำแนะนำและยินยอมของสภาผู้้แทนราษฎร ดังต่อไปนี้
มาตรา 1 |
พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า "พระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว์ พ.ศ. 2499" |
มาตรา 2 |
พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดเก้าสิบวันนับแต่วันประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป |
|
[รก.2499/78/1063/2 ตุลาคม 2499] |
มาตรา 3 |
ให้ยกเลิก |
มาตรา 4 |
ในพระราชบัญญัตินี้ |
|
(1) ช้าง ม้า โค กระบือ ลา ล่อ แพะ แกะ สุกร สุนัข แมว กระต่าย ลิง ชะนี และ ให้หมายความรวมถึงน้ำเชื้อสำหรับผสมพันธุ์และเอ็มบริโอ (ตัวอ่อนของสัตว์ที่ยังไม่เจริญเติบโตจนถึงขั้นที่มีอวัยวะครบบริบูรณ์) ของสัตว์เหล่านี้ด้วย |
|
(2) สัตว์ปีกจำพวก นก ไก่ เป็ด ห่าน และให้หมายความรวมถึงไข่สำหรับใช้ทำพันธุ์ด้วย และ |
|
(3) สัตว์ชนิดอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง |
|
"ซากสัตว์" หมายความว่า ร่างกายหรือส่วนของร่างกายสัตว์ที่ตายแล้ว และยังไม่ได้แปรสภาพเป็นอาหารสุก หรือสิ่งประดิษฐ์สำเร็จรูป และให้หมายความรวมถึงงา เขา และขน ที่ได้ตัดออกจากสัตว์ขณะมีชีวิตและยังไม่ได้แปรสภาพเป็นสิ่งประดิษฐ์สำเร็จ รูปด้วย |
มาตรา 5 |
พระราชบัญญัตินี้มิให้ใช้บังคับ ในกรณีเกี่ยวกับสัตว์ของกระทรวงกลาโหม และส่วนราชการอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง |
มาตรา 6 |
สำหรับสุนัข แมว กระต่าย ลิง ชะนี รวมถึงน้ำเชื้อสำหรับผสมพันธุ์สัตว์เหล่านี้ และสัตว์ปีกจำพวก นก ไก่ เป็ด ห่าน รวมถึงไข่สำหรับใช้ทำพันธุ์ ให้พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับเฉพาะการนำเข้า นำออก หรือนำผ่านราชอาณาจักร หรือการอย่างอื่น ตามที่กำหนดโดยพระราชกฤษฎีกา |
มาตรา 7 |
ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวง เกษตรรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำนาจแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ นายทะเบียน และสัตวแพทย์ และออกกฎกระทรวงวางระเบียบ การขอและการออกใบอนุญาต กำหนดค่าธรรมเนียมไม่เกินอัตราท้ายพระราชบัญญัตินี้ หรือยกเว้นค่าธรรมเนียมเฉพาะกรณี และกำหนดการอื่น ๆ เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ |
หมวด 1 การป้องกันโรคระบาด |
มาตรา 8 |
ในท้องที่ที่ยังมิได้ ประกาศเป็นเขตปลอดโรคระบาดตามหมวด 2 หรือ ในท้องที่ที่ยังมิได้ประกาศเป็นเขตโรคระบาด เขตสงสัยว่ามีโรคระบาด หรือเขตโรคระบาดชั่วคราวตามหมวด 3 ถ้ามีสัตว์ป่วยหรือตายโดยรู้ว่าเป็นโรคระบาด หรือมีสัตว์ป่วยหรือตายโดยปัจจุบัน อันไม่อาจคิดเห็นได้ว่าป่วยหรือตายโดยเหตุใด หรือในหมู่บ้านเดียวกัน หรือในบริเวณใกล้เคียงกัน มีสัตว์ตั้งแต่สองตัวขึ้นไปป่วยหรือตาย มีอาการคล้ายคลึงกันในระยะเวลาห่างกันไม่เกินเจ็ดวัน ให้เจ้าของแจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่สารวัตร หรือสัตวแพทย์ท้องที่ภายในเวลายี่สิบสี่ชั่วโมง นับแต่เวลาที่สัตว์ป่วยหรือตาย |
มาตรา 9 |
เมื่อได้มีการแจ้งตาม มาตรา 8 หรือมีเหตุอันควรสงสัยว่ามีสัตว์ป่วย หรือตายโดยโรคระบาด ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ หรือสารวัตรมีอำนาจออกคำสั่งเป็นหนังสือให้เจ้าของจัดการดังต่อไปนี้ |
|
(1) ให้กักขัง แยก หรือย้ายสัตว์ป่วย หรือสงสัยว่าป่วยไว้ภายในเขตและตามวิธีการที่กำหนดให้ |
|
(2) ให้ฝัง หรือเผาซากสัตว์นั้น ณ ที่ที่กำหนดให้ ถ้าการฝังหรือเผาไม่อาจทำได้ ให้สั่งทำลายโดยวิธีอื่นตามที่เห็นสมควร หรือ |
|
(3) ให้กักขัง แยก หรือย้ายสัตว์ที่อยู่ร่วมฝูง หรือเคยอยู่ร่วมฝูงกับสัตว์ที่ป่วย หรือ สงสัยว่าป่วยหรือตายไว้ภายในเขต และตามวิธีการที่กำหนดให้ |
มาตรา 10 |
เมื่อได้มีการแจ้ง ตาม มาตรา 8 หรือตรวจพบ หรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าสัตว์ป่วยหรือตายโดยโรคระบาด ให้สัตวแพทย์มีอำนาจเข้าตรวจสัตว์หรือซากสัตว์นั้น และให้มี อำนาจออกคำสั่งเป็นหนังสือให้เจ้าของจัดการดังต่อไปนี้ |
|
(1) ให้กักขัง แยก หรือย้ายสัตว์ป่วย หรือสงสัยว่าป่วยไว้ภายในเขต และตามวิธีการที่กำหนดให้ หรือให้ได้รับการรักษาตามที่เห็นสมควร |
หมวด 2 เขตปลอดโรคระบาด |
มาตรา 11 |
เมื่อรัฐมนตรีเห็นสมควร เพื่อป้องกันมิให้เกิดโรคระบาดสำหรับสัตว์ชนิดใดในท้องที่ใด ก็ให้มีอำนาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากำหนดท้องที่นั้นทั้งหมด หรือแต่บางส่วนเป็นเขตปลอดโรคระบาด ประกาศนี้ให้ระบุชนิดของสัตว์และโรคระบาดไว้ด้วย |
มาตรา 12 |
เมื่อได้ประกาศเขตปลอดโรค ระบาดตามมาตรา 11 แล้วห้ามมิให้ผู้ใดเคลื่อนย้ายสัตว์หรือซากสัตว์เข้าใน หรือผ่านเขตนั้น เว้นแต่จะได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจากอธิบดี หรือสัตวแพทย์ซึ่งอธิบดีมอบหมาย |
มาตรา 13 |
ภายในเขตปลอดโรคระบาด ให้เจ้าของสัตว์มีหน้าที่ปฏิบัติการตามมาตรา 8 ให้พนักงานเจ้าหน้าที่และสารวัตรมีอำนาจตามมาตรา 9 และให้สัตวแพทย์มีอำนาจตามมาตรา 10 และมาตรา 18 |
มาตรา 14 |
ภายในเขตปลอดโรคระบาด ถ้าปรากฏว่ามีโรคระบาดหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่ามีโรคระบาด ผู้ว่าราชการจังหวัด หรือสัตวแพทย์จะประกาศเขตโรคระบาด เขตสงสัยว่ามีโรคระบาดหรือเขตโรคระบาดชั่วคราว แล้วแต่กรณีตามหมวด 3 ก็ได้ |
หมวด 3 เขตโรคระบาด |
มาตรา 15 |
ในเขตท้องที่ จังหวัดใดมีหรือสงสัยว่ามีโรคระบาด ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดนั้น มีอำนาจประกาศกำหนดเขตท้องที่จังหวัดนั้นทั้งหมดหรือแต่บางส่วนเป็นเขตโรคระ บาด หรือเขตสงสัยว่ามีโรคระบาด แล้วแต่กรณี ประกาศนี้ให้ระบุชนิดของสัตว์และโรคระบาดไว้ด้วย และให้ปิดไว้ ณ ศาลากลางจังหวัด ที่ว่าการอำเภอ บ้านกำนัน บ้านผู้ใหญ่บ้าน และที่ชุมนุมชนภายในเขตนั้น |
|
|
มาตรา 16 |
ในกรณีที่สัตวแพทย์เห็น ว่า โรคระบาดที่ตรวจพบในท้องที่ของตน หรือท้องที่อื่นที่ติดต่อกับท้องที่ของตนจะระบาดออกไป ให้สัตวแพทย์มีอำนาจประกาศเป็นหนังสือกำหนดเขตโรคระบาดชั่วคราวมีรัศมีไม่ เกินห้ากิโลเมตรจากที่ที่ตรวจพบโรคระบาดนั้น ประกาศนี้ให้ระบุชนิดของสัตว์และโรคระบาดไว้ด้วย และให้ปิดไว้ ณ บ้านกำนัน บ้านผู้ใหญ่บ้าน และที่ชุมนุมชนภายในเขตนั้น และให้ใช้บังคับได้สามสิบวันนับแต่วันประกาศ |
|
|
มาตรา 17 |
เมื่อได้มีประกาศกำหนดเขต โรคระบาด หรือเขตสงสัยว่ามีโรคระบาดตามมาตรา 15 หรือประกาศกำหนดเขตโรคระบาดชั่วคราวตามมาตรา 16 แล้ว ห้ามมิให้ผู้ใดเคลื่อนย้ายสัตว์ หรือซากสัตว์ภายในเขตนั้น หรือเคลื่อนย้ายสัตว์ หรือซากสัตว์ เข้าในหรือออกนอกเขตนั้น เว้นแต่ได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจากสัตวแพทย์ |
|
|
มาตรา 18 |
ภายในเขตโรคระบาด หรือเขตสงสัยว่ามีโรคระบาดตามมาตรา 15 หรือเขตโรคระบาดชั่วคราวตามมาตรา 16 ให้สัตวแพทย์มีอำนาจตามมาตรา 10 และให้มีอำนาจดังต่อไปนี้อีกด้วย คือ |
|
|
มาตรา 19 |
ภายในเขตโรคระบาด หรือเขตสงสัยว่ามีโรคระบาดตามมาตรา 15 หรือเขตโรคระบาดชั่วคราวตามมาตรา 16 ถ้ามีสัตว์ป่วยหรือตายให้เจ้าของแจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ สารวัตร หรือสัตวแพทย์ ภายในเวลาสิบสองชั่วโมงนับแต่เวลาที่สัตว์ป่วยหรือตาย และ ให้นำความในมาตรา 8 วรรคสอง มาใช้บังคับโดยอนุโลม |
|
|
มาตรา 20 |
ในเขตท้องที่ จังหวัดใด ซึ่งได้ประกาศเป็นเขตโรคระบาดหรือเขตสงสัยว่ามีโรคระบาด ถ้าปรากฏว่าโรคระบาดนั้นได้สงบลงหรือปรากฏว่าไม่มีโรคระบาดโดยเด็ดขาด แล้วแต่กรณี ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดถอนประกาศเช่นว่านั้นเสีย |
หมวด 4 การควบคุมการค้าสัตว์และซากสัตว์ |
มาตรา 21 |
ห้ามมิให้บุคคลใดทำการค้า ช้าง ม้า โค กระบือ แพะ แกะ สุกร หรือสัตว์ชนิดอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง หรือทำการค้าซากสัตว์ ตามที่กำหนดในกฎกระทรวง เว้นแต่จะได้รับใบอนุญาตจากนายทะเบียน |
มาตรา 21 ทวิ |
ห้ามมิให้บุคคลใดขาย จำหน่าย จ่าย แจก แลกเปลี่ยน หรือมีไว้ เพื่อขายซึ่งน้ำเชื้อสำหรับผสมพันธุ์หรือเอ็มบริโอของม้า โค กระบือ แพะ แกะ สุกร หรือสัตว์ชนิดอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง เว้นแต่จะได้รับใบอนุญาตจากนายทะเบียน |
|
|
มาตรา 22 |
ใบอนุญาตตามมาตรา 21 หรือ มาตรา 21ทวิ ให้ใช้ได้จนถึง วันสิ้นปีปฏิทินแห่งปีที่ออก |
|
|
มาตรา 23 |
ผู้ทำการค้าสัตว์หรือซากสัตว์ ต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในใบอนุญาต |
มาตรา 24 | ในกรณีที่ผู้รับใบอนุญาต ตามมาตรา 21 หรือมาตรา 21 ทวิ ฝ่าฝืนต่อบทแห่งพระราชบัญญัตินี้ หรือเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในใบอนุญาตให้สัตวแพทย์มีอำนาจยึดใบอนุญาตของผู้ นั้นไว้เพื่อเสนอนายทะเบียน ถ้านายทะเบียนเห็นสมควรจะสั่งพักใช้หรือเพิกถอนใบอนุญาตนั้นเสียก็ได้ ผู้ ถูกยึด พักใช้ หรือเพิกถอนใบอนุญาตตามวรรคหนึ่ง มีสิทธิอุทธรณ์ต่อรัฐมนตรี หรือผู้ที่รัฐมนตรีมอบหมายภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ถูกยึด พักใช้ หรือเพิกถอนใบอนุญาต แล้วแต่กรณี คำวินิจฉัยของรัฐมนตรีหรือผู้ที่รัฐมนตรีมอบหมายให้เป็นที่สุด |
หมวด 5 เบ็ดเตล็ด |
มาตรา 25 |
ถ้ามีสัตว์ที่ไม่ปรากฏ เจ้าของป่วย หรือตายในที่ดินของบุคคลใด ให้เจ้าของที่ดินนั้นมีหน้าที่ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้เช่นเดียวกับ เจ้าของสัตว์นั้น และเมื่อปรากฏ เจ้าของสัตว์ในภายหลังเจ้าของที่ดินมีสิทธิเรียกร้องค่าใช้จ่ายเท่าที่จ่าย จริงจากเจ้าของสัตว์ได้ |
|
|
มาตรา 26 |
ถ้ามีสัตว์ที่ไม่ปรากฏ เจ้าของป่วย หรือตายโดยโรคระบาดในที่สาธารณะหรือที่ดินไม่ปรากฏเจ้าของ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่สารวัตร หรือสัตวแพทย์มีอำนาจกักสัตว์หรือซากสัตว์นั้นไว้ ณ ที่ที่เห็นสมควรภายในบริเวณที่นั้นได้ สำหรับซากสัตว์นั้นเมื่อเห็นสมควรจะฝังเสียก็ได้ ในกรณีจำเป็นเพื่อป้องกันมิให้โรคระบาดแพร่หลาย สัตวแพทย์จะทำลายสัตว์หรือซากสัตว์ หรือฝังซากสัตว์นั้นภายในบริเวณที่นั้นก็ได้ |
|
|
มาตรา 27 |
สำหรับสัตว์ที่เจ้าของนำ ไปมา หรือขนส่งโดยยานพาหนะ หากปรากฏว่าเป็นโรคระบาดหรือเป็นพาหะของโรคระบาด หรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นโรคระบาดหรือเป็นพาหะของโรคระบาด ให้สัตวแพทย์มีอำนาจสั่งกักสัตว์นั้นไว้ ณ ที่ที่เห็นสมควรตามความจำเป็นได้ |
|
|
มาตรา 28 |
ห้ามมิให้บุคคลใดขุดซากสัตว์ที่ฝังไว้แล้ว ตามบทแห่งพระราชบัญญัตินี้ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจากสัตวแพทย์ |
|
|
มาตรา 29 |
เมื่อปรากฏว่ามีโรคระบาด หรือพาหะของโรคระบาด หรือมีเหตุอันควรสงสัยว่ามีโรคระบาด หรือพาหะของโรคระบาดในยานพาหนะ อาคาร หรือสถานที่อื่นใด ให้สัตวแพทย์มีอำนาจเรียกตรวจยานพาหนะ หรือเข้าไปในอาคาร หรือสถานที่นั้น และให้เจ้าของยานพาหนะ อาคารหรือสถานที่นั้น ให้ความสะดวกแก่สัตวแพทย์ตามสมควร |
|
|
มาตรา 30 |
ให้รัฐมนตรีมีอำนาจประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา |
|
|
มาตรา 31 |
ห้ามมิให้บุคคลใดนำเข้า นำออกหรือนำผ่านราชอาณาจักร ซึ่งสัตว์หรือซากสัตว์ เว้นแต่จะได้รับใบอนุญาตจากอธิบดี หรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมาย |
|
|
มาตรา 32 |
ผู้ใดนำเข้า นำออก หรือนำผ่านราชอาณาจักร ซึ่งสัตว์หรือซากสัตว์ ต้องปฏิบัติการตามที่กำหนดในกฎกระทรวง |
|
|
มาตรา 33 |
ให้อธิบดีมีอำนาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา |
|
|
มาตรา 34 |
ผูู้้ใดนำช้าง ม้า โค กระบือ แพะ แกะ สุกร หรือน้ำเชื้อสำหรับผสมพันธุ์หรือเอ็มบริโอของสัตว์เหล่านี้ หรือสัตว์ชนิดอื่นตามที่กำหนดในกฏกระทรวงหรือซากสัตว์ตามที่กำหนดใน กฏกระทรวง ไปยังท้องที่ต่างจังหวัด ต้องได้รับอนุญาตจากสัตวแพทย์ประจำท้องที่ |
|
|
มาตรา 35 |
ผููู้้ใดนำสัตว์ผ่่านด่านกักสัตว์ ต้องปฏิบัติการตามที่กำหนดในกฎกระทรวง |
|
|
มาตรา 36 |
ผูู้ใดส่งสัตว์ หรือซากสัตว์ไปจำหน่ายต่างประเทศ ต้องปฏิบัติการตามที่กำหนดในกฎกระทรวง |
|
|
มาตรา 37 |
ค่าธรรมเนียมที่เรียกเก็บ เฉพาะค่าที่พักสัตว์หรือซากสัตว์ที่ส่งไปต่างประเทศ ให้กันไว้เป็นทุนเพื่อใช้จ่ายในการควบคุมการส่งสัตว์หรือซากสัตว์ไปจำหน่าย ต่างประเทศเป็นจำนวนร้อยละห้าสิบของเงินที่เก็บได้ทั้งสิ้น เหลือเท่าใดให้นำส่งเป็นรายได้ของแผ่่นดิน |
|
|
มาตรา 38 |
ให้สารวัตรมีอำนาจจับกุม ผูู้้กระทำผิดต่อบทแห่งพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำนาจยึดสัตว์ ซากสัตว์ หรือสิ่งของใด ๆ ที่เกี่ยวกับการกระทำความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ไว้เพื่อส่งพนักงานสอบสวน ดำเนินการต่อไปตามกฏหมายว่าด้วยวิธีพิจารณาความอาญา หรือเพื่อดำเนินการตามมาตรา 51 |
หมวด 6 บทกำหนดโทษ |
มาตรา 39 |
ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 8 วรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองพันบาท |
|
|
มาตรา 40 |
ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 8 วรรคสองหรือฝ่าฝืนคำสั่งของพนักงานเจ้าหน้าที่ หรือสารวัตร ตามมาตรา 9 หรือฝ่าฝืนมาตรา 19 หรือเจ้าของยานพาหนะ อาคารหรือสถานที่ ผู้ใดขัดขวางหรือไม่อำนวยความสะดวกให้แก่สัตวแพทย์ตามสมควร ตามมาตรา 29 วรรคหนึ่ง ต้อง ระวางโทษจำคุกไม่เกินสองเดือน หรือปรับไม่เกินสี่พันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ |
|
|
มาตรา 41 |
ผู้ใดฝ่าฝืนคำสั่ง สัตวแพทย์ตามมาตรา 10 หรือมาตรา 18 หรือฝ่าฝืนมาตรา 23 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ |
|
|
มาตรา 42 |
ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 12 มาตรา 17 มาตรา 21 มาตรา 21ทวิ หรือ มาตรา 28 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ |
|
|
มาตรา 43 |
ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 13 |
|
ในกรณีไม่ปฏิบัติการตามมาตรา 8 วรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 39 |
|
|
มาตรา 44 |
เจ้าของที่ดินผู้ใดไม่ปฏิบัติการตามหน้าที่ตามที่ระบุไว้ใน มาตรา 25 ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองพันบาท |
|
|
มาตรา 45 |
(ถูกยกเลิกทั้งหมด โดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2542]) |
|
|
มาตรา 46 |
ผู้ใดฝ่าฝืนประกาศของรัฐมนตรีตามมาตรา 30 (2) ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ |
|
|
มาตรา 47 |
ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 31 วรรคหนึ่งหรือวรรคสาม หรือฝ่าฝืนเงื่อนไข ที่กำหนดไว้ในใบอนุญาตตามมาตรา 31 วรรคสอง ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ |
|
|
มาตรา 48 |
ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 32 มาตรา 35 หรือมาตรา 36 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองเดือน หรือปรับไม่เกินสี่พันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ |
|
|
มาตรา 49 |
ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 34 วรรคหนึ่ง หรือฝ่าฝืนเงื่อนไขที่กำหนดไว้ ในใบอนุญาตตามมาตรา 34 วรรคสอง ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกิน หนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ |
|
|
มาตรา 50 |
ผู้ใดใช้เครื่องหมายปลอม หรือแปลงประทับที่ตัวสัตว์เปลี่ยนแปลงหรือ แก้ไขเครื่องหมายรอยประทับที่ตัวสัตว์ เพื่อให้เข้าใจว่าเป็นเครื่องหมายของเจ้าพนักงาน หรือทำลาย หรือแก้ไขเครื่องหมายใด ๆ ที่เจ้าพนักงานทำไว้แก่ซากสัตว์ หรือภาชนะ หรือสิ่งห่อหุ้มซากสัตว์ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ |
|
|
มาตรา 51 |
บรรดาความผิดตามพระราช บัญญัตินี้ที่มีโทษปรับสถานเดียว ให้อธิบดีหรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมายมีอำนาจเปรียบเทียบได้ และเมื่อผู้ต้องหาได้ชำระค่าปรับตามจำนวนที่เปรียบเทียบภายในระยะเวลาที่ กำหนดแล้ว ให้คดีนั้นเป็นอันเลิกกัน |
|
|
มาตรา 52 |
ให้อธิบดีมีอำนาจสั่งจ่ายเงินสินบนและรางวัลตามระเบียบที่อธิบดี กำหนดโดยความเห็นชอบจากกระทรวงการคลัง |
ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ |
|
|
|
|
|
หมายเหตุ:- |
เหตุผล ในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากพระราชบัญญัติโรคระบาดปศุสัตว์และสัตว์พาหนะเท่าที่ใช้อยู่ในเวลา นี้มีหลายฉบับด้วยกัน ไม่สะดวกแก่การปฏิบัิติงานของเจ้าหน้าที่และเป็นการยากแก่ราษฎรที่จะต้อง ปฏิบัติตามกฏหมาย จึงเห็นสมควรรวบรวมไว้ในฉบับเดียวกันให้เหมาะสมและสอดคล้องแก่เหตุการณ์และ วิวัฒนาการของประเทศในปัจจุบันนี้ |
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 73 ตอนที่ 78 หน้า 1063-1089 วันที่ 2 ตุลาคม 2499 |
ลำดับ |
รายการ |
บาท |
หมายเหตุ |
1 |
ใบอนุญาตให้นำสัตว์เข้าในราชอาณาจักร |
|
|
|
|
ช้าง |
เชือกละ |
250 |
|
|
ม้า โค กระบือ ลา ล่อ สุนัข แมว ลิง ชะนี |
ตัวละ |
100 |
|
|
แพะ แกะ สุกร กระต่าย |
ตัวละ |
50 |
|
|
นกกระจอกเทศ นกอีมู |
ตัวละ |
200 |
|
|
ไก่ เป็ด ห่าน และสัตว์ปีกชนิดอื่น |
ตัวละ |
5 |
|
|
สัตว์ชนิดอื่น |
ตัวละ |
100 |
|
|
น้ำเชื้อสำหรับผสมพันธุ์ |
โด๊สละ |
10 |
|
|
เอ็มบริโอ |
ตัวละ |
100 |
|
|
ไข่นกกระจอกเทศ ไข่นกอีมู สำหรับใช้ทำพันธุ์ |
ฟองละ |
50 |
|
|
ไข่สัตว์ปีกชนิดอื่นสำหรับใช้ทำพันธุ์ |
ฟองละ |
50 |
|
|
|
|
|
|
2 |
ใบอนุญาตให้นำสัตว์ออกนอกราชอาณาจักร |
|
|
|
|
ช้าง |
เชือกละ |
50,000 |
|
|
ม้า โค กระบือ ลา ล่อ สุนัข แมว ลิง ชะนี |
ตัวละ |
50 |
|
|
แพะ แกะ สุกร |
ตัวละ |
25 |
|
|
กระต่าย |
ตัวละ |
10 |
|
|
สัตว์ชนิดอื่น |
ตัวละ |
500 |
|
|
|
|
|
|
3 |
ใบอนุญาตให้นำสัตว์ผ่านราชอาณาจักร |
|
|
|
|
ช้าง |
เชือกละ |
2,000 |
|
|
ม้า โค กระบือ ลา ล่อ |
ตัวละ |
100 |
|
|
แพะ แกะ สุกร สุนัข ลิง ชะนี |
ตัวละ |
50 |
|
|
แมว กระต่าย |
ตัวละ |
20 |
|
|
สัตว์ชนิดอื่น |
ตัวละ |
100 |
|
|
น้ำเชื้อสำหรับผสมพันธุ์ |
โด้สละ |
5 |
|
|
เอ็มบริโอ |
ตัวละ |
20 |
|
|
ไข่นกกระจอกเทศ ไข่นกอีมูสำหรับใช้ทำพันธุ์ |
ฟองละ |
50 |
|
|
ไข่สัตว์ปีกชนิดอื่นสำหรับใช้ทำพันธุ์ |
ฟองละ |
50 |
|
|
|
|
|
|
4 |
ใบอนุญาตให้นำซากสัตว์เข้าในราชอาณาจักร |
กิโลกรัมละ |
20 |
* |
|
|
|
|
|
5 |
ใบอนุญาตให้นำซากสัตว์ออกนอกราชอาณาจักร |
กิโลกรัมละ |
1 |
* |
|
|
|
|
|
6 |
ใบอนุญาตให้นำซากสัตว์ผ่านราชอาณาจักร |
กิโลกรัมละ |
1 |
|
|
|
|
|
|
7 |
ใบอนุญาตให้ทำการค้าช้าง ม้า โค กระบือ แพะ แกะ สุกร และสัตว์ชนิดอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง |
|
|
|
|
(1) ส่งไปต่างประเทศ |
ฉบับละ |
2,000 |
|
|
(2) ทั่วราชอาณาจักร |
ฉบับละ |
400 |
|
|
(3) ภายในจังหวัด |
ฉบับละ |
100 |
|
|
|
|
|
|
8 |
ใบอนุญาตให้ขายน้ำเชื้อ สำหรับผสมพันธุ์ หรือเอ็มบริโอ |
|
|
|
|
(1) ส่งไปต่างประเทศ |
ฉบับละ |
800 |
|
|
(2) ทั่วราชอาณาจักร |
ฉบับละ |
200 |
|
|
|
|
|
|
9 |
ใบอนุญาตให้ทำการค้าซากสัตว์ |
|
|
|
|
(1) ส่งไปต่างประเทศ |
ฉบับละ |
400 |
|
|
(2) ทั่วราชอาณาจักร |
ฉบับละ |
100 |
|
|
(3) ภายในจังหวัด |
ฉบับละ |
20 |
|
|
|
|
|
|
10 |
ใบแทนใบอนุญาตให้ทำการค้าสัตว์ |
|
|
|
|
ใบอนุญาตให้ขายน้ำเชื้อสำหรับผสมพันธุ์ |
|
|
|
|
หรือเอ็มบริโอ หรือใบอนุญาตให้ทำการค้าซากสัตว์ |
ฉบับละ |
20 |
|
|
|
|
|
|
11 |
ค่าทำลายเชื้อโรคผ่านด่านกักสัตว์ |
ตัวละ |
50 |
|
|
|
|
|
|
12 |
ค่าที่พักสัตว์ที่ส่งไปต่างประเทศ |
|
|
|
|
โค กระบือ |
ตัวละ |
50 |
|
|
สุกร |
ตัวละ |
30 |
|
|
แพะ แกะ |
ตัวละ |
20 |
|
|
|
|
|
|
13 |
ค่าที่พักซากสัตว์ที่ส่งไปต่างประเทศ |
|
|
** |
|
ซากโค กระบือ สุกร |
กิโลกรัมละ |
2 |
|
|
แพะ แกะ |
กิโลกรัมละ |
1 |
|
........... |
|
.................... |
|
........................................... |
หมายเหตุ |
|
* |
ค่าธรรมเนียมลำดับ ที่ 4 ที่ 5 และ ที่ 6 ถ้าเศษของ 1 กิโลกรัม ตั้งแต่ 500 กรัมขึ้นไปคิดเป็น 1 กิโลกรัม ถ้าไม่ถึง 500 กรัมให้ปัดทิ้ง |
** |
ถ้าเศษของ 1 กิโลกรัม ตั้งแต่ 500 กรัมขึ้นไปคิดเป็น 1 กิโลกรัม ถ้าไม่ถึง 500 กรัมให้ปัดทิ้ง |
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ให้ไว้ ณ วันที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2499
เป็นปีที่ 11 ในรัชกาลปัจจุบัน
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศว่า
โดยที่เป็นการสมควรมีกฎหมายว่าด้วยโรคระบาดสัตว์
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขึ้นไว้โดยคำแนะนำและยินยอมของสภาผู้้แทนราษฎร ดังต่อไปนี้
มาตรา 1 |
พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า "พระราชบัญญัติโรคระบาดสัตว์ พ.ศ. 2499" |
มาตรา 2 |
พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดเก้าสิบวันนับแต่วันประกาศ ในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป |
|
[รก.2499/78/1063/2 ตุลาคม 2499] |
มาตรา 3 |
ให้ยกเลิก |
มาตรา 4 |
ในพระราชบัญญัตินี้ |
|
(1) ช้าง ม้า โค กระบือ ลา ล่อ แพะ แกะ สุกร สุนัข แมว กระต่าย ลิง ชะนี และ ให้หมายความรวมถึงน้ำเชื้อสำหรับผสมพันธุ์และเอ็มบริโอ (ตัวอ่อนของสัตว์ที่ยังไม่เจริญเติบโตจนถึงขั้นที่มีอวัยวะครบบริบูรณ์) ของสัตว์เหล่านี้ด้วย |
|
(2) สัตว์ปีกจำพวก นก ไก่ เป็ด ห่าน และให้หมายความรวมถึงไข่สำหรับใช้ทำพันธุ์ด้วย และ |
|
(3) สัตว์ชนิดอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง |
|
"ซากสัตว์" หมายความว่า ร่างกายหรือส่วนของร่างกายสัตว์ที่ตายแล้ว และยังไม่ได้แปรสภาพเป็นอาหารสุก หรือสิ่งประดิษฐ์สำเร็จรูป และให้หมายความรวมถึงงา เขา และขน ที่ได้ตัดออกจากสัตว์ขณะมีชีวิตและยังไม่ได้แปรสภาพเป็นสิ่งประดิษฐ์สำเร็จ รูปด้วย |
มาตรา 5 |
พระราชบัญญัตินี้มิให้ใช้บังคับ ในกรณีเกี่ยวกับสัตว์ของกระทรวงกลาโหม และส่วนราชการอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง |
มาตรา 6 |
สำหรับสุนัข แมว กระต่าย ลิง ชะนี รวมถึงน้ำเชื้อสำหรับผสมพันธุ์สัตว์เหล่านี้ และสัตว์ปีกจำพวก นก ไก่ เป็ด ห่าน รวมถึงไข่สำหรับใช้ทำพันธุ์ ให้พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับเฉพาะการนำเข้า นำออก หรือนำผ่านราชอาณาจักร หรือการอย่างอื่น ตามที่กำหนดโดยพระราชกฤษฎีกา |
มาตรา 7 |
ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวง เกษตรรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำนาจแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ นายทะเบียน และสัตวแพทย์ และออกกฎกระทรวงวางระเบียบ การขอและการออกใบอนุญาต กำหนดค่าธรรมเนียมไม่เกินอัตราท้ายพระราชบัญญัตินี้ หรือยกเว้นค่าธรรมเนียมเฉพาะกรณี และกำหนดการอื่น ๆ เพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ |
หมวด 1 การป้องกันโรคระบาด |
มาตรา 8 |
ในท้องที่ที่ยังมิได้ ประกาศเป็นเขตปลอดโรคระบาดตามหมวด 2 หรือ ในท้องที่ที่ยังมิได้ประกาศเป็นเขตโรคระบาด เขตสงสัยว่ามีโรคระบาด หรือเขตโรคระบาดชั่วคราวตามหมวด 3 ถ้ามีสัตว์ป่วยหรือตายโดยรู้ว่าเป็นโรคระบาด หรือมีสัตว์ป่วยหรือตายโดยปัจจุบัน อันไม่อาจคิดเห็นได้ว่าป่วยหรือตายโดยเหตุใด หรือในหมู่บ้านเดียวกัน หรือในบริเวณใกล้เคียงกัน มีสัตว์ตั้งแต่สองตัวขึ้นไปป่วยหรือตาย มีอาการคล้ายคลึงกันในระยะเวลาห่างกันไม่เกินเจ็ดวัน ให้เจ้าของแจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่สารวัตร หรือสัตวแพทย์ท้องที่ภายในเวลายี่สิบสี่ชั่วโมง นับแต่เวลาที่สัตว์ป่วยหรือตาย |
มาตรา 9 |
เมื่อได้มีการแจ้งตาม มาตรา 8 หรือมีเหตุอันควรสงสัยว่ามีสัตว์ป่วย หรือตายโดยโรคระบาด ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ หรือสารวัตรมีอำนาจออกคำสั่งเป็นหนังสือให้เจ้าของจัดการดังต่อไปนี้ |
|
(1) ให้กักขัง แยก หรือย้ายสัตว์ป่วย หรือสงสัยว่าป่วยไว้ภายในเขตและตามวิธีการที่กำหนดให้ |
|
(2) ให้ฝัง หรือเผาซากสัตว์นั้น ณ ที่ที่กำหนดให้ ถ้าการฝังหรือเผาไม่อาจทำได้ ให้สั่งทำลายโดยวิธีอื่นตามที่เห็นสมควร หรือ |
|
(3) ให้กักขัง แยก หรือย้ายสัตว์ที่อยู่ร่วมฝูง หรือเคยอยู่ร่วมฝูงกับสัตว์ที่ป่วย หรือ สงสัยว่าป่วยหรือตายไว้ภายในเขต และตามวิธีการที่กำหนดให้ |
มาตรา 10 |
เมื่อได้มีการแจ้ง ตาม มาตรา 8 หรือตรวจพบ หรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าสัตว์ป่วยหรือตายโดยโรคระบาด ให้สัตวแพทย์มีอำนาจเข้าตรวจสัตว์หรือซากสัตว์นั้น และให้มี อำนาจออกคำสั่งเป็นหนังสือให้เจ้าของจัดการดังต่อไปนี้ |
|
(1) ให้กักขัง แยก หรือย้ายสัตว์ป่วย หรือสงสัยว่าป่วยไว้ภายในเขต และตามวิธีการที่กำหนดให้ หรือให้ได้รับการรักษาตามที่เห็นสมควร |
หมวด 2 เขตปลอดโรคระบาด |
มาตรา 11 |
เมื่อรัฐมนตรีเห็นสมควร เพื่อป้องกันมิให้เกิดโรคระบาดสำหรับสัตว์ชนิดใดในท้องที่ใด ก็ให้มีอำนาจประกาศในราชกิจจานุเบกษากำหนดท้องที่นั้นทั้งหมด หรือแต่บางส่วนเป็นเขตปลอดโรคระบาด ประกาศนี้ให้ระบุชนิดของสัตว์และโรคระบาดไว้ด้วย |
มาตรา 12 |
เมื่อได้ประกาศเขตปลอดโรค ระบาดตามมาตรา 11 แล้วห้ามมิให้ผู้ใดเคลื่อนย้ายสัตว์หรือซากสัตว์เข้าใน หรือผ่านเขตนั้น เว้นแต่จะได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจากอธิบดี หรือสัตวแพทย์ซึ่งอธิบดีมอบหมาย |
มาตรา 13 |
ภายในเขตปลอดโรคระบาด ให้เจ้าของสัตว์มีหน้าที่ปฏิบัติการตามมาตรา 8 ให้พนักงานเจ้าหน้าที่และสารวัตรมีอำนาจตามมาตรา 9 และให้สัตวแพทย์มีอำนาจตามมาตรา 10 และมาตรา 18 |
มาตรา 14 |
ภายในเขตปลอดโรคระบาด ถ้าปรากฏว่ามีโรคระบาดหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่ามีโรคระบาด ผู้ว่าราชการจังหวัด หรือสัตวแพทย์จะประกาศเขตโรคระบาด เขตสงสัยว่ามีโรคระบาดหรือเขตโรคระบาดชั่วคราว แล้วแต่กรณีตามหมวด 3 ก็ได้ |
หมวด 3 เขตโรคระบาด |
มาตรา 15 |
ในเขตท้องที่ จังหวัดใดมีหรือสงสัยว่ามีโรคระบาด ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดนั้น มีอำนาจประกาศกำหนดเขตท้องที่จังหวัดนั้นทั้งหมดหรือแต่บางส่วนเป็นเขตโรคระ บาด หรือเขตสงสัยว่ามีโรคระบาด แล้วแต่กรณี ประกาศนี้ให้ระบุชนิดของสัตว์และโรคระบาดไว้ด้วย และให้ปิดไว้ ณ ศาลากลางจังหวัด ที่ว่าการอำเภอ บ้านกำนัน บ้านผู้ใหญ่บ้าน และที่ชุมนุมชนภายในเขตนั้น |
|
|
มาตรา 16 |
ในกรณีที่สัตวแพทย์เห็น ว่า โรคระบาดที่ตรวจพบในท้องที่ของตน หรือท้องที่อื่นที่ติดต่อกับท้องที่ของตนจะระบาดออกไป ให้สัตวแพทย์มีอำนาจประกาศเป็นหนังสือกำหนดเขตโรคระบาดชั่วคราวมีรัศมีไม่ เกินห้ากิโลเมตรจากที่ที่ตรวจพบโรคระบาดนั้น ประกาศนี้ให้ระบุชนิดของสัตว์และโรคระบาดไว้ด้วย และให้ปิดไว้ ณ บ้านกำนัน บ้านผู้ใหญ่บ้าน และที่ชุมนุมชนภายในเขตนั้น และให้ใช้บังคับได้สามสิบวันนับแต่วันประกาศ |
|
|
มาตรา 17 |
เมื่อได้มีประกาศกำหนดเขต โรคระบาด หรือเขตสงสัยว่ามีโรคระบาดตามมาตรา 15 หรือประกาศกำหนดเขตโรคระบาดชั่วคราวตามมาตรา 16 แล้ว ห้ามมิให้ผู้ใดเคลื่อนย้ายสัตว์ หรือซากสัตว์ภายในเขตนั้น หรือเคลื่อนย้ายสัตว์ หรือซากสัตว์ เข้าในหรือออกนอกเขตนั้น เว้นแต่ได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจากสัตวแพทย์ |
|
|
มาตรา 18 |
ภายในเขตโรคระบาด หรือเขตสงสัยว่ามีโรคระบาดตามมาตรา 15 หรือเขตโรคระบาดชั่วคราวตามมาตรา 16 ให้สัตวแพทย์มีอำนาจตามมาตรา 10 และให้มีอำนาจดังต่อไปนี้อีกด้วย คือ |
|
|
มาตรา 19 |
ภายในเขตโรคระบาด หรือเขตสงสัยว่ามีโรคระบาดตามมาตรา 15 หรือเขตโรคระบาดชั่วคราวตามมาตรา 16 ถ้ามีสัตว์ป่วยหรือตายให้เจ้าของแจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ สารวัตร หรือสัตวแพทย์ ภายในเวลาสิบสองชั่วโมงนับแต่เวลาที่สัตว์ป่วยหรือตาย และ ให้นำความในมาตรา 8 วรรคสอง มาใช้บังคับโดยอนุโลม |
|
|
มาตรา 20 |
ในเขตท้องที่ จังหวัดใด ซึ่งได้ประกาศเป็นเขตโรคระบาดหรือเขตสงสัยว่ามีโรคระบาด ถ้าปรากฏว่าโรคระบาดนั้นได้สงบลงหรือปรากฏว่าไม่มีโรคระบาดโดยเด็ดขาด แล้วแต่กรณี ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดถอนประกาศเช่นว่านั้นเสีย |
หมวด 4 การควบคุมการค้าสัตว์และซากสัตว์ |
มาตรา 21 |
ห้ามมิให้บุคคลใดทำการค้า ช้าง ม้า โค กระบือ แพะ แกะ สุกร หรือสัตว์ชนิดอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง หรือทำการค้าซากสัตว์ ตามที่กำหนดในกฎกระทรวง เว้นแต่จะได้รับใบอนุญาตจากนายทะเบียน |
มาตรา 21 ทวิ |
ห้ามมิให้บุคคลใดขาย จำหน่าย จ่าย แจก แลกเปลี่ยน หรือมีไว้ เพื่อขายซึ่งน้ำเชื้อสำหรับผสมพันธุ์หรือเอ็มบริโอของม้า โค กระบือ แพะ แกะ สุกร หรือสัตว์ชนิดอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง เว้นแต่จะได้รับใบอนุญาตจากนายทะเบียน |
|
|
มาตรา 22 |
ใบอนุญาตตามมาตรา 21 หรือ มาตรา 21ทวิ ให้ใช้ได้จนถึง วันสิ้นปีปฏิทินแห่งปีที่ออก |
|
|
มาตรา 23 |
ผู้ทำการค้าสัตว์หรือซากสัตว์ ต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในใบอนุญาต |
มาตรา 24 | ในกรณีที่ผู้รับใบอนุญาต ตามมาตรา 21 หรือมาตรา 21 ทวิ ฝ่าฝืนต่อบทแห่งพระราชบัญญัตินี้ หรือเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในใบอนุญาตให้สัตวแพทย์มีอำนาจยึดใบอนุญาตของผู้ นั้นไว้เพื่อเสนอนายทะเบียน ถ้านายทะเบียนเห็นสมควรจะสั่งพักใช้หรือเพิกถอนใบอนุญาตนั้นเสียก็ได้ ผู้ ถูกยึด พักใช้ หรือเพิกถอนใบอนุญาตตามวรรคหนึ่ง มีสิทธิอุทธรณ์ต่อรัฐมนตรี หรือผู้ที่รัฐมนตรีมอบหมายภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ถูกยึด พักใช้ หรือเพิกถอนใบอนุญาต แล้วแต่กรณี คำวินิจฉัยของรัฐมนตรีหรือผู้ที่รัฐมนตรีมอบหมายให้เป็นที่สุด |
หมวด 5 เบ็ดเตล็ด |
มาตรา 25 |
ถ้ามีสัตว์ที่ไม่ปรากฏ เจ้าของป่วย หรือตายในที่ดินของบุคคลใด ให้เจ้าของที่ดินนั้นมีหน้าที่ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้เช่นเดียวกับ เจ้าของสัตว์นั้น และเมื่อปรากฏ เจ้าของสัตว์ในภายหลังเจ้าของที่ดินมีสิทธิเรียกร้องค่าใช้จ่ายเท่าที่จ่าย จริงจากเจ้าของสัตว์ได้ |
|
|
มาตรา 26 |
ถ้ามีสัตว์ที่ไม่ปรากฏ เจ้าของป่วย หรือตายโดยโรคระบาดในที่สาธารณะหรือที่ดินไม่ปรากฏเจ้าของ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่สารวัตร หรือสัตวแพทย์มีอำนาจกักสัตว์หรือซากสัตว์นั้นไว้ ณ ที่ที่เห็นสมควรภายในบริเวณที่นั้นได้ สำหรับซากสัตว์นั้นเมื่อเห็นสมควรจะฝังเสียก็ได้ ในกรณีจำเป็นเพื่อป้องกันมิให้โรคระบาดแพร่หลาย สัตวแพทย์จะทำลายสัตว์หรือซากสัตว์ หรือฝังซากสัตว์นั้นภายในบริเวณที่นั้นก็ได้ |
|
|
มาตรา 27 |
สำหรับสัตว์ที่เจ้าของนำ ไปมา หรือขนส่งโดยยานพาหนะ หากปรากฏว่าเป็นโรคระบาดหรือเป็นพาหะของโรคระบาด หรือมีเหตุอันควรสงสัยว่าเป็นโรคระบาดหรือเป็นพาหะของโรคระบาด ให้สัตวแพทย์มีอำนาจสั่งกักสัตว์นั้นไว้ ณ ที่ที่เห็นสมควรตามความจำเป็นได้ |
|
|
มาตรา 28 |
ห้ามมิให้บุคคลใดขุดซากสัตว์ที่ฝังไว้แล้ว ตามบทแห่งพระราชบัญญัตินี้ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจากสัตวแพทย์ |
|
|
มาตรา 29 |
เมื่อปรากฏว่ามีโรคระบาด หรือพาหะของโรคระบาด หรือมีเหตุอันควรสงสัยว่ามีโรคระบาด หรือพาหะของโรคระบาดในยานพาหนะ อาคาร หรือสถานที่อื่นใด ให้สัตวแพทย์มีอำนาจเรียกตรวจยานพาหนะ หรือเข้าไปในอาคาร หรือสถานที่นั้น และให้เจ้าของยานพาหนะ อาคารหรือสถานที่นั้น ให้ความสะดวกแก่สัตวแพทย์ตามสมควร |
|
|
มาตรา 30 |
ให้รัฐมนตรีมีอำนาจประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา |
|
|
มาตรา 31 |
ห้ามมิให้บุคคลใดนำเข้า นำออกหรือนำผ่านราชอาณาจักร ซึ่งสัตว์หรือซากสัตว์ เว้นแต่จะได้รับใบอนุญาตจากอธิบดี หรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมาย |
|
|
มาตรา 32 |
ผู้ใดนำเข้า นำออก หรือนำผ่านราชอาณาจักร ซึ่งสัตว์หรือซากสัตว์ ต้องปฏิบัติการตามที่กำหนดในกฎกระทรวง |
|
|
มาตรา 33 |
ให้อธิบดีมีอำนาจประกาศในราชกิจจานุเบกษา |
|
|
มาตรา 34 |
ผูู้้ใดนำช้าง ม้า โค กระบือ แพะ แกะ สุกร หรือน้ำเชื้อสำหรับผสมพันธุ์หรือเอ็มบริโอของสัตว์เหล่านี้ หรือสัตว์ชนิดอื่นตามที่กำหนดในกฏกระทรวงหรือซากสัตว์ตามที่กำหนดใน กฏกระทรวง ไปยังท้องที่ต่างจังหวัด ต้องได้รับอนุญาตจากสัตวแพทย์ประจำท้องที่ |
|
|
มาตรา 35 |
ผููู้้ใดนำสัตว์ผ่่านด่านกักสัตว์ ต้องปฏิบัติการตามที่กำหนดในกฎกระทรวง |
|
|
มาตรา 36 |
ผูู้ใดส่งสัตว์ หรือซากสัตว์ไปจำหน่ายต่างประเทศ ต้องปฏิบัติการตามที่กำหนดในกฎกระทรวง |
|
|
มาตรา 37 |
ค่าธรรมเนียมที่เรียกเก็บ เฉพาะค่าที่พักสัตว์หรือซากสัตว์ที่ส่งไปต่างประเทศ ให้กันไว้เป็นทุนเพื่อใช้จ่ายในการควบคุมการส่งสัตว์หรือซากสัตว์ไปจำหน่าย ต่างประเทศเป็นจำนวนร้อยละห้าสิบของเงินที่เก็บได้ทั้งสิ้น เหลือเท่าใดให้นำส่งเป็นรายได้ของแผ่่นดิน |
|
|
มาตรา 38 |
ให้สารวัตรมีอำนาจจับกุม ผูู้้กระทำผิดต่อบทแห่งพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำนาจยึดสัตว์ ซากสัตว์ หรือสิ่งของใด ๆ ที่เกี่ยวกับการกระทำความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ไว้เพื่อส่งพนักงานสอบสวน ดำเนินการต่อไปตามกฏหมายว่าด้วยวิธีพิจารณาความอาญา หรือเพื่อดำเนินการตามมาตรา 51 |
หมวด 6 บทกำหนดโทษ |
มาตรา 39 |
ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 8 วรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองพันบาท |
|
|
มาตรา 40 |
ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 8 วรรคสองหรือฝ่าฝืนคำสั่งของพนักงานเจ้าหน้าที่ หรือสารวัตร ตามมาตรา 9 หรือฝ่าฝืนมาตรา 19 หรือเจ้าของยานพาหนะ อาคารหรือสถานที่ ผู้ใดขัดขวางหรือไม่อำนวยความสะดวกให้แก่สัตวแพทย์ตามสมควร ตามมาตรา 29 วรรคหนึ่ง ต้อง ระวางโทษจำคุกไม่เกินสองเดือน หรือปรับไม่เกินสี่พันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ |
|
|
มาตรา 41 |
ผู้ใดฝ่าฝืนคำสั่ง สัตวแพทย์ตามมาตรา 10 หรือมาตรา 18 หรือฝ่าฝืนมาตรา 23 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ |
|
|
มาตรา 42 |
ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 12 มาตรา 17 มาตรา 21 มาตรา 21ทวิ หรือ มาตรา 28 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ |
|
|
มาตรา 43 |
ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 13 |
|
ในกรณีไม่ปฏิบัติการตามมาตรา 8 วรรคหนึ่ง ต้องระวางโทษตามที่บัญญัติไว้ในมาตรา 39 |
|
|
มาตรา 44 |
เจ้าของที่ดินผู้ใดไม่ปฏิบัติการตามหน้าที่ตามที่ระบุไว้ใน มาตรา 25 ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองพันบาท |
|
|
มาตรา 45 |
(ถูกยกเลิกทั้งหมด โดยพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2542]) |
|
|
มาตรา 46 |
ผู้ใดฝ่าฝืนประกาศของรัฐมนตรีตามมาตรา 30 (2) ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ |
|
|
มาตรา 47 |
ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 31 วรรคหนึ่งหรือวรรคสาม หรือฝ่าฝืนเงื่อนไข ที่กำหนดไว้ในใบอนุญาตตามมาตรา 31 วรรคสอง ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ |
|
|
มาตรา 48 |
ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 32 มาตรา 35 หรือมาตรา 36 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสองเดือน หรือปรับไม่เกินสี่พันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ |
|
|
มาตรา 49 |
ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 34 วรรคหนึ่ง หรือฝ่าฝืนเงื่อนไขที่กำหนดไว้ ในใบอนุญาตตามมาตรา 34 วรรคสอง ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกิน หนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ |
|
|
มาตรา 50 |
ผู้ใดใช้เครื่องหมายปลอม หรือแปลงประทับที่ตัวสัตว์เปลี่ยนแปลงหรือ แก้ไขเครื่องหมายรอยประทับที่ตัวสัตว์ เพื่อให้เข้าใจว่าเป็นเครื่องหมายของเจ้าพนักงาน หรือทำลาย หรือแก้ไขเครื่องหมายใด ๆ ที่เจ้าพนักงานทำไว้แก่ซากสัตว์ หรือภาชนะ หรือสิ่งห่อหุ้มซากสัตว์ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ |
|
|
มาตรา 51 |
บรรดาความผิดตามพระราช บัญญัตินี้ที่มีโทษปรับสถานเดียว ให้อธิบดีหรือผู้ซึ่งอธิบดีมอบหมายมีอำนาจเปรียบเทียบได้ และเมื่อผู้ต้องหาได้ชำระค่าปรับตามจำนวนที่เปรียบเทียบภายในระยะเวลาที่ กำหนดแล้ว ให้คดีนั้นเป็นอันเลิกกัน |
|
|
มาตรา 52 |
ให้อธิบดีมีอำนาจสั่งจ่ายเงินสินบนและรางวัลตามระเบียบที่อธิบดี กำหนดโดยความเห็นชอบจากกระทรวงการคลัง |
ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ |
|
|
|
|
|
หมายเหตุ:- |
เหตุผล ในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากพระราชบัญญัติโรคระบาดปศุสัตว์และสัตว์พาหนะเท่าที่ใช้อยู่ในเวลา นี้มีหลายฉบับด้วยกัน ไม่สะดวกแก่การปฏิบัิติงานของเจ้าหน้าที่และเป็นการยากแก่ราษฎรที่จะต้อง ปฏิบัติตามกฏหมาย จึงเห็นสมควรรวบรวมไว้ในฉบับเดียวกันให้เหมาะสมและสอดคล้องแก่เหตุการณ์และ วิวัฒนาการของประเทศในปัจจุบันนี้ |
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 73 ตอนที่ 78 หน้า 1063-1089 วันที่ 2 ตุลาคม 2499 |
ลำดับ |
รายการ |
บาท |
หมายเหตุ |
1 |
ใบอนุญาตให้นำสัตว์เข้าในราชอาณาจักร |
|
|
|
|
ช้าง |
เชือกละ |
250 |
|
|
ม้า โค กระบือ ลา ล่อ สุนัข แมว ลิง ชะนี |
ตัวละ |
100 |
|
|
แพะ แกะ สุกร กระต่าย |
ตัวละ |
50 |
|
|
นกกระจอกเทศ นกอีมู |
ตัวละ |
200 |
|
|
ไก่ เป็ด ห่าน และสัตว์ปีกชนิดอื่น |
ตัวละ |
5 |
|
|
สัตว์ชนิดอื่น |
ตัวละ |
100 |
|
|
น้ำเชื้อสำหรับผสมพันธุ์ |
โด๊สละ |
10 |
|
|
เอ็มบริโอ |
ตัวละ |
100 |
|
|
ไข่นกกระจอกเทศ ไข่นกอีมู สำหรับใช้ทำพันธุ์ |
ฟองละ |
50 |
|
|
ไข่สัตว์ปีกชนิดอื่นสำหรับใช้ทำพันธุ์ |
ฟองละ |
50 |
|
|
|
|
|
|
2 |
ใบอนุญาตให้นำสัตว์ออกนอกราชอาณาจักร |
|
|
|
|
ช้าง |
เชือกละ |
50,000 |
|
|
ม้า โค กระบือ ลา ล่อ สุนัข แมว ลิง ชะนี |
ตัวละ |
50 |
|
|
แพะ แกะ สุกร |
ตัวละ |
25 |
|
|
กระต่าย |
ตัวละ |
10 |
|
|
สัตว์ชนิดอื่น |
ตัวละ |
500 |
|
|
|
|
|
|
3 |
ใบอนุญาตให้นำสัตว์ผ่านราชอาณาจักร |
|
|
|
|
ช้าง |
เชือกละ |
2,000 |
|
|
ม้า โค กระบือ ลา ล่อ |
ตัวละ |
100 |
|
|
แพะ แกะ สุกร สุนัข ลิง ชะนี |
ตัวละ |
50 |
|
|
แมว กระต่าย |
ตัวละ |
20 |
|
|
สัตว์ชนิดอื่น |
ตัวละ |
100 |
|
|
น้ำเชื้อสำหรับผสมพันธุ์ |
โด้สละ |
5 |
|
|
เอ็มบริโอ |
ตัวละ |
20 |
|
|
ไข่นกกระจอกเทศ ไข่นกอีมูสำหรับใช้ทำพันธุ์ |
ฟองละ |
50 |
|
|
ไข่สัตว์ปีกชนิดอื่นสำหรับใช้ทำพันธุ์ |
ฟองละ |
50 |
|
|
|
|
|
|
4 |
ใบอนุญาตให้นำซากสัตว์เข้าในราชอาณาจักร |
กิโลกรัมละ |
20 |
* |
|
|
|
|
|
5 |
ใบอนุญาตให้นำซากสัตว์ออกนอกราชอาณาจักร |
กิโลกรัมละ |
1 |
* |
|
|
|
|
|
6 |
ใบอนุญาตให้นำซากสัตว์ผ่านราชอาณาจักร |
กิโลกรัมละ |
1 |
|
|
|
|
|
|
7 |
ใบอนุญาตให้ทำการค้าช้าง ม้า โค กระบือ แพะ แกะ สุกร และสัตว์ชนิดอื่นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง |
|
|
|
|
(1) ส่งไปต่างประเทศ |
ฉบับละ |
2,000 |
|
|
(2) ทั่วราชอาณาจักร |
ฉบับละ |
400 |
|
|
(3) ภายในจังหวัด |
ฉบับละ |
100 |
|
|
|
|
|
|
8 |
ใบอนุญาตให้ขายน้ำเชื้อ สำหรับผสมพันธุ์ หรือเอ็มบริโอ |
|
|
|
|
(1) ส่งไปต่างประเทศ |
ฉบับละ |
800 |
|
|
(2) ทั่วราชอาณาจักร |
ฉบับละ |
200 |
|
|
|
|
|
|
9 |
ใบอนุญาตให้ทำการค้าซากสัตว์ |
|
|
|
|
(1) ส่งไปต่างประเทศ |
ฉบับละ |
400 |
|
|
(2) ทั่วราชอาณาจักร |
ฉบับละ |
100 |
|
|
(3) ภายในจังหวัด |
ฉบับละ |
20 |
|
|
|
|
|
|
10 |
ใบแทนใบอนุญาตให้ทำการค้าสัตว์ |
|
|
|
|
ใบอนุญาตให้ขายน้ำเชื้อสำหรับผสมพันธุ์ |
|
|
|
|
หรือเอ็มบริโอ หรือใบอนุญาตให้ทำการค้าซากสัตว์ |
ฉบับละ |
20 |
|
|
|
|
|
|
11 |
ค่าทำลายเชื้อโรคผ่านด่านกักสัตว์ |
ตัวละ |
50 |
|
|
|
|
|
|
12 |
ค่าที่พักสัตว์ที่ส่งไปต่างประเทศ |
|
|
|
|
โค กระบือ |
ตัวละ |
50 |
|
|
สุกร |
ตัวละ |
30 |
|
|
แพะ แกะ |
ตัวละ |
20 |
|
|
|
|
|
|
13 |
ค่าที่พักซากสัตว์ที่ส่งไปต่างประเทศ |
|
|
** |
|
ซากโค กระบือ สุกร |
กิโลกรัมละ |
2 |
|
|
แพะ แกะ |
กิโลกรัมละ |
1 |
|
........... |
|
.................... |
|
........................................... |
หมายเหตุ |
|
* |
ค่าธรรมเนียมลำดับ ที่ 4 ที่ 5 และ ที่ 6 ถ้าเศษของ 1 กิโลกรัม ตั้งแต่ 500 กรัมขึ้นไปคิดเป็น 1 กิโลกรัม ถ้าไม่ถึง 500 กรัมให้ปัดทิ้ง |
** |
ถ้าเศษของ 1 กิโลกรัม ตั้งแต่ 500 กรัมขึ้นไปคิดเป็น 1 กิโลกรัม ถ้าไม่ถึง 500 กรัมให้ปัดทิ้ง |
พระราชบัญญัติ โรคติดต่อ พ.ศ. 2523
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
|
พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า "พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2523" |
|
|
|
มาตรา 2 |
พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป |
|
|
|
ให้ยกเลิก |
|
(1) |
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พุทธศักราช 2477 |
|
(2) |
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2479 |
|
(3) |
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ (ฉบับที่ 3) พุทธศักราช 2482 |
|
(4) |
พระราชบัญญัติไข้จับสั่น พุทธศักราช 2485 |
|
(5) |
พระราชบัญญัติโรคเรื้อน พุทธศักราช 2486 |
|
บรรดากฎหมาย กฎ และข้อบังคับอื่นที่มีบัญญัติไว้แล้วในพระราชบัญญัตินี้ หรือซึ่งขัดหรือแย้งกับบทแห่งพระราชบัญญัตินี้ ให้ใช้พระราชบัญญัตินี้แทน |
|
|
|
ในพระราชบัญญัตินี้ |
|
(1) |
"โรคติดต่อ" หมายความว่า โรคซึ่งรัฐมนตรีประกาศตาม มาตรา 5 ให้เป็นโรคติดต่อ และให้หมายความรวมถึงโรคซึ่งรัฐมนตรีหรือ ผู้ว่าราชการจังหวัดประกาศตาม มาตรา 6 วรรคสอง ให้เป็นโรคติดต่อด้วย |
|
(2) |
"โรคติดต่ออันตราย" หมายความว่า โรคติดต่อซึ่งรัฐมนตรี ประกาศตาม มาตรา 5 ให้เป็นโรคติดต่ออันตราย |
|
(3) |
"โรคติดต่อต้องแจ้งความ" หมายความว่า โรคติดต่อซึ่งรัฐมนตรี ประกาศตาม มาตรา 5 ให้เป็นโรคติดต่อต้องแจ้งความ และให้หมายความรวมถึงโรคติดต่อตาม มาตรา 5 ซึ่งผู้ว่าราชการจังหวัดประกาศตาม มาตรา 6 วรรคหนึ่ง หรือโรคซึ่งรัฐมนตรีหรือผู้ว่าราชการจังหวัดประกาศตาม มาตรา 6 วรรคสอง ให้เป็นโรคติดต่อต้องแจ้งความด้วย |
|
(4) |
"พาหะ" หมายความว่า คนหรือสัตว์ซึ่งไม่มีอาการของโรคติดต่อ ปรากฏ แต่ร่างกายมีเชื้อโรคนั้นซึ่งอาจติดต่อถึงผู้อื่นได้ |
|
(5) |
"ผู้สัมผัสโรค" หมายความว่า คนซึ่งได้เข้าใกล้ชิดคน สัตว์ หรือ สิ่งของติดโรค จนเชื้อโรคนั้นอาจติดต่อถึงผู้นั้นได้ |
|
(6) |
"ระยะฟักตัวของโรค" หมายความว่า ระยะเวลาตั้งแต่เชื้อโรค เข้าสู่ร่างกาย จนถึงเวลาที่ผู้ติดโรคแสดงอาการป่วยของโรคนั้น |
|
(7) |
"ระยะติดต่อของโรค" หมายความว่า ระยะเวลาที่เชื้อโรค สามารถจะแพร่จากคนหรือสัตว์ที่มีเชื้อโรคไปยังผู้อื่นได้ โดยทางตรงหรือ ทางอ้อม |
|
(8) |
"แยกกัก" หมายความว่า การแยกผู้สัมผัสโรคหรือพาหะ ออกไว้ต่างหากจากผู้อื่นในที่เอกเทศ และตามภาวะอันจะป้องกันมิให้เชื้อโรคแพร่หลาย โดยทางตรงหรือทางอ้อมไปยังผู้ซึ่งอาจได้รับเชื้อโรคนั้น ๆ ได้ จนกว่าจะพ้นระยะติดต่อของโรค |
|
(9) |
"กักกัน" หมายความว่า การควบคุมผู้สัมผัสโรคหรือพาหะ ให้อยู่ในที่เอกเทศจนกว่าจะพ้นระยะฟักตัวของโรคนั้น ๆ หรือจนกว่าจะพ้นความ เป็นพาหะ |
(10) | "คุม ไว้สังเกต" หมายความว่า การควบคุมดูแลผู้สัมผัสโรค หรือพาหะ โดยไม่กักกัน และอาจจะอนุญาตให้ผ่านไปในที่ใด ๆ ก็ได้ โดยมีเงื่อนไขว่าเมื่อไปถึงท้องที่ใดที่กำหนดไว้ ผู้นั้นต้องแสดงตัวต่อเจ้าพนักงานสาธารณสุขประจำท้องที่นั้น เพื่อรับการตรวจในทางแพทย์ | |
(11) | "เขต ติดโรค" หมายความว่า ท้องที่หนึ่งท้องที่ใด ในหรือนอกราชอาณาจักรที่มีโรคติดต่อเกิดขึ้น ตามที่รัฐมนตรีหรือผู้ว่าราชการจังหวัด ประกาศในท้องที่นั้น ๆ เป็นเขตติดโรค | |
(12) | "พาหนะ" หมายความว่า ยาน สัตว์ หรือวัตถุ ซึ่งใช้ในการขนส่งคน สัตว์ หรือสิ่งของ ทางบก ทางน้ำ หรือทางอากาศ | |
(13) | "เจ้าของพาหนะ" หมายความรวมถึง ตัวแทน เจ้าของ ผู้เช่า ตัวแทนผู้เช่าหรือผู้ครอบครอง | |
(14) | "ผู้ควบคุมพาหนะ" หมายความว่า ผู้รับผิดชอบในการควบคุมพาหนะ | |
(15) | "ผู้เดินทาง" หมายความว่า คนซึ่งเดินทางเข้ามาในราชอาณาจักร รวมทั้งผู้ควบคุมพาหนะและคนประจำพาหนะ | |
(16) | "การ สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค" หมายความว่า การกระทำทางการแพทย์โดยวิธีใด ๆ ก็ตาม ต่อคนหรือสัตว์เพื่อให้คนหรือสัตว์นั้น เกิดอำนาจต้านทานโรค | |
(17) | "ที่ เอกเทศ" หมายความว่า ที่ใด ๆ ซึ่งเจ้าพนักงานสาธารณสุข กำหนดให้เป็นที่สำหรับแยกกัก หรือกักกันคนหรือสัตว์ที่ป่วย หรือมีเหตุสงสัยป่วยด้วยโรคติดต่อใด ๆ เพื่อป้องกันและควบคุมมิให้โรคนั้นแพร่หลาย | |
(18) | "เจ้า พนักงานสาธารณสุข" หมายความว่า เจ้าพนักงานซึ่งได้รับ แต่งตั้งให้มีหน้าที่ตรวจตรา ดูแล และรับผิดชอบในการสาธารณสุขโดยทั่วไป หรือเฉพาะในท้องที่ใดท้องที่หนึ่ง | |
(19) | "พนักงานเจ้าหน้าที่" หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ | |
|
(20) |
"รัฐมนตรี" หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ |
|
|
|
โรคใดจะเป็นโรคติดต่อ โรคติดต่ออันตราย หรือโรคติดต่อต้องแจ้งความ ให้รัฐมนตรีประกาศชื่อและอาการสำคัญของโรคไว้ในราชกิจจานุเบกษา |
|
|
|
ในกรณีจำเป็นและสมควรให้ ผู้ว่าราชการจังหวัด มีอำนาจประกาศกำหนดให้โรคติดต่อซึ่งรัฐมนตรีประกาศตาม มาตรา 5 เป็นโรคติดต่อต้องแจ้งความเฉพาะในเขตของตน |
|
|
|
ในกรณีที่มีโรคติดต่อ อันตราย หรือโรคติดต่อต้องแจ้งความเกิดขึ้น หรือมีเหตุสงสัยว่าได้มีโรคติดต่อดังกล่าวเกิดขึ้น ให้บุคคลดังต่อไปนี้ แจ้งต่อเจ้าพนักงานสาธารณสุขหรือพนักงานเจ้าหน้าที่ |
|
(1) |
ในกรณีมีการป่วยหรือมี เหตุสงสัยว่าได้มีการป่วยโดยโรคติดต่อดังกล่าวเกิดขึ้นในบ้าน ให้เป็นหน้าที่ของเจ้าบ้าน หรือของผู้ควบคุมดูแลบ้าน หรือของแพทย์ผู้ทำการรักษาพยาบาล |
|
(2) |
ในกรณีมีการป่วยหรือมี เหตุสงสัยว่าได้มีการป่วยด้วยโรคติดต่อดังกล่าวเกิดขึ้นในสถานพยาบาล ให้เป็นหน้าที่ของผู้รับผิดชอบในสถานพยาบาลนั้น |
|
(3) |
ในกรณีที่ได้มีการชันสูตร ทางแพทย์ตรวจพบว่าอาจมีเชื้อ อันเป็นเหตุของโรคติดต่อดังกล่าว ให้เป็นหน้าที่ของผู้ทำการชันสูตรทางแพทย์ หรือ ของผู้รับผิดชอบในสถานที่ที่ได้มีการชันสูตรทางแพทย์นั้น |
|
(4) |
หลักเกณฑ์ และวิธีการแจ้งตามวรรคหนึ่งให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎกระทรวง |
|
|
|
เมื่อปรากฏแก่เจ้าพนักงาน สาธารณสุขว่าได้เกิด หรือ มีเหตุสงสัยว่า ได้เกิดโรคติดต่ออันตรายอย่างใดเกิดขึ้นในบ้าน โรงเรือน สถานที่ หรือพาหนะใด ให้เจ้าพนักงานสาธารณสุขมีอำนาจที่จะดำเนินการเอง ประกาศหรือออกคำสั่งเป็นหนังสือให้ผู้ใดดำเนินการดังต่อไปนี้ได้ |
|
(1) |
ให้คนหรือสัตว์ซึ่งป่วย หรือมีเหตุสงสัยว่าป่วย เป็นโรคติดต่ออันตราย เป็นผู้สัมผัสโรค หรือเป็นพาหะของโรคติดต่ออันตราย มารับการตรวจ การชันสูตร ทางแพทย์ หรือการรักษา หรือคุมไว้สังเกต ณ สถานที่ซึ่งเจ้าพนักงานสาธารณสุขกำหนด |
|
(2) |
กักกันหรือคุมไว้สังเกตซึ่งคนหรือสัตว์ซึ่งเป็นหรือมีเหตุสงสัยว่า เป็นผู้สัมผัสโรคหรือพาหะ |
|
(3) |
ให้คนหรือสัตว์รับการป้องกัน ตามวัน เวลา และสถานที่ซึ่ง เจ้าพนักงานสาธารณสุขกำหนด |
|
(4) |
ดำเนินการหรือให้เจ้าของ หรือผู้อยู่ในบ้าน โรงเรือน สถานที่ หรือพาหนะใดที่โรคติดต่ออันตรายได้เกิดขึ้น จัดการกำจัดความติดโรคหรือ ทำลายสิ่งใด ๆ หรือสัตว์ที่มีเหตุเชื่อได้ว่าเป็นสิ่งติดโรค จนกว่าเจ้าพนักงาน สาธารณสุขจะเห็นว่าปราศจากความติดโรค และได้ถอนคำสั่งนั้นแล้ว |
|
(5) |
ดำเนินการหรือให้เจ้าของ หรือผู้อยู่ในบ้าน โรงเรือน สถานที่ หรือพาหนะใดที่โรคติดต่ออันตรายได้เกิดขึ้น จัดการแก้ไข ปรับปรุงการ สุขาภิบาล หรือรื้อถอนสิ่งที่ไม่ถูกสุขลักษณะ หรือจัดให้มีขึ้นใหม่ให้ถูก สุขลักษณะ |
|
(6) |
ให้นำศพหรือซากสัตว์ซึ่ง ปรากฏหรือมีเหตุสงสัยว่าตายด้วย โรคติดต่ออันตรายไปรับการตรวจ หรือจัดการทางแพทย์ หรือจัดการแก่ศพ หรือซากสัตว์นั้นด้วยประการอื่นใด เพื่อป้องกันการแพร่หลายของโรค |
|
(7) |
ดำเนินการหรือกำหนดให้ปฏิบัติการเพื่อป้องกัน กำจัด สัตว์ หรือแมลง หรือตัวอ่อนของแมลงที่เป็นเหตุให้เกิดโรค |
|
(8) |
ดำเนินการหรือกำหนดให้ ปฏิบัติในการ ทำ ประกอบ ปรุง จับต้อง บรรจุ เก็บ สะสม จำหน่ายอาหาร น้ำแข็ง เครื่องดื่มหรือน้ำเพื่อ ป้องกันการแพร่หลายของโรค |
|
(9) |
จัดหาและให้เครื่องอุปโภคบริโภค รวมทั้งเวชภัณฑ์หรือเคมีภัณฑ์ เพื่อป้องกันการแพร่หลายของโรค |
|
(10) |
จัดหาน้ำที่ถูกสุขลักษณะไว้ในบ้าน โรงเรือน สถานที่ หรือ พาหนะ |
|
(11) |
ห้ามกระทำการใด ๆ อันน่าจะเป็นเหตุให้เกิดภาวะไม่ถูก สุขลักษณะแก่ถนนหนทาง บ้าน โรงเรือน สถานที่ พาหนะ หรือที่สาธารณะอื่นใด |
|
(12) |
ห้ามกระทำการใด ๆ อันอาจจะเป็นเหตุให้โรคแพร่หลาย |
|
|
|
ในกรณีที่เจ้าพนักงาน สาธารณสุขได้ออกคำสั่งประกาศตามมาตรา 8 ให้ปิดประกาศนั้นไว้ในที่เปิดเผยเห็นได้ง่าย ณ สถานที่แยกกัก สถานที่กักกัน บ้าน โรงเรือน สถานที่หรือพาหนะที่ผู้ป่วยอาศัยหรือพักอยู่ และหรือบริเวณที่ใกล้เคียง ตลอดเวลาที่คำสั่งตามประกาศนั้นยังคงใช้บังคับอยู่ ห้ามผู้ใดนอกจากเจ้าพนักงานสาธารณสุขเข้าไปในหรือออกจากสถานที่แยกกัก สถานที่กักกัน บ้าน โรงเรือน สถานที่หรือพาหนะ ที่ผู้ป่วยอาศัยหรือ พักอยู่หรือย้ายสิ่งของใด ๆ ออกจากที่นั้น เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานสาธารณสุข |
|
|
|
เมื่อมีโรคติดต่ออันตราย เกิดขึ้นหรือน่าจะเกิดขึ้นในท้องที่ใด รัฐมนตรีหรือผู้ว่าราชการจังหวัดเฉพาะในเขตของตน มีอำนาจประกาศโดยระบุชื่อและอาการสำคัญของโรค ตำบล หมู่บ้านหรือสถานที่ใด เป็นเขตติดโรค และจะกำหนดปริมณฑลโดยรอบไว้เป็นเขตติดโรคด้วยก็ได้ |
|
(1) |
ปฏิบัติการใด ๆ ตามที่กำหนดไว้ใน มาตรา 8 |
|
(2) |
ห้ามผู้ใดเข้าไปในหรือออกจากเขตติดโรคหรือที่เอกเทศ เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานสาธารณสุข |
|
(3) |
เข้าไปในบ้าน โรงเรือน สถานที่ หรือพาหนะใด ที่เกิดหรือ มีเหตุสงสัยว่าเกิดโรคได้ โดยมิต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า แต่ต้องกระทำใน ภาวะอันสมควร |
|
(4) |
รื้อถอน ทำลาย หรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงตามความจำเป็น ซึ่งบ้าน โรงเรือน สิ่งปลูกสร้าง สถานที่ พาหนะ หรือสิ่งของใด ๆ เพื่อป้องกันการแพร่หลายของโรค |
|
(5) |
ปิดตลาด โรงมหรสพ สถานศึกษา สถานที่ประกอบหรือจำหน่ายอาหาร สถานที่ผลิตหรือจำหน่ายเครื่องดื่ม โรงงาน สถานที่ชุมนุมชน หรือ สถานที่อื่นใดไว้ชั่วคราวตามที่เห็นสมควรเพื่อป้องกันการแพร่หลายของโรค |
|
(6) |
ห้ามคนซึ่งป่วยหรือมีเหตุ สงสัยว่าป่วยเป็นโรคติดต่ออันตราย ประกอบอาชีพใด ๆ หรือเข้าไปในสถานศึกษา สถานที่ชุมนุมชนหรือสถานที่อื่นใด เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานสาธารณสุข |
|
|
|
เมื่อโรคติดต่อต้องแจ้ง ความเกิดขึ้นในบ้าน โรงเรือน สถานที่ พาหนะหรือท้องที่ใด ถ้าเจ้าพนักงานสาธารณสุขเห็นว่าโรคติดต่อดังกล่าวจะระบาดต่อไป ให้มีอำนาจปฏิบัติการใด ๆ ตามที่กำหนดไว้ในมาตรา 8 และมาตรา 10 ได้โดยอนุโลม |
|
|
เพื่อป้องกันมิให้ โรคติดต่อใดเกิดหรือแพร่หลาย ให้รัฐมนตรีมีอำนาจประกาศในราชกิจจานุเบกษาให้บุคคลต้องได้รับการสร้างเสริม ภูมิคุ้มกันโรค
|
ในการป้องกันและควบคุมโรค ติดต่อระหว่างประเทศ ให้ช่องทางและด่านตรวจคนเข้าเมืองตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมืองเป็น ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ เมื่อมีเหตุอันสมควรให้เจ้าพนักงาน สาธารณสุขประจำด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศมีอำนาจ ดังต่อไปนี้ |
|
(1) |
ให้เจ้าของพาหนะหรือผู้ ควบคุมพาหนะแจ้งกำหนดวัน เวลา และสถานที่ที่พาหนะนั้น ๆ จะเข้ามาถึงท่าอากาศยาน ท่าเรือ หรือท่าขนส่ง ทางบก ต่อเจ้าพนักงานสาธารณสุขประจำด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ตามวิธีการที่กำหนดในกฎกระทรวง |
|
(2) |
ให้เจ้าของพาหนะหรือผู้ ควบคุมพาหนะที่เข้ามาในราชอาณาจักร ยื่นเอกสารต่อเจ้าพนักงานสาธารณสุขประจำด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่าง ประเทศ ตามแบบและวิธีการที่กำหนดในกฎกระทรวง |
|
(3) |
ห้ามผู้ใดนำพาหนะอื่นใด เข้าเทียบพาหนะที่เดินทางเข้ามาใน ราชอาณาจักร ซึ่งยังไม่ได้รับการตรวจจากเจ้าพนักงานสาธารณสุข และห้าม ผู้ใดเข้าไปในหรือออกจากพาหนะนั้น เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงาน สาธารณสุขประจำด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ |
|
(4) |
เข้าไปในพาหนะและตรวจผู้ เดินทาง สิ่งของหรือสัตว์ที่มากับ พาหนะ ตรวจตราและควบคุมให้เจ้าของพาหนะหรือผู้ควบคุมพาหนะแก้ไขการ สุขาภิบาลของพาหนะให้ถูกสุขลักษณะ รวมทั้งกำจัดสิ่งอันอาจเป็นอันตราย ต่อสุขภาพในพาหนะ ในการนี้ให้เจ้าของพาหนะหรือผู้ควบคุมพาหนะอำนวย ความสะดวกแก่เจ้าพนักงานสาธารณสุขประจำด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ |
|
(5) |
ห้ามเจ้าของพาหนะหรือผู้ควบคุมพาหนะนำผู้เดินทางซึ่งไม่ได้รับ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคตามที่รัฐมนตรีประกาศเข้ามาในราชอาณาจักร |
|
(6) |
ตรวจตรา ควบคุม ให้ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบท่าอากาศยาน ท่าเรือ หรือท่าขนส่งทางบก แก้ไขการสุขาภิบาลให้ถูกสุขลักษณะ รวมทั้งกำจัดสิ่งอัน อาจเป็นอันตรายต่อสุขภาพในสถานที่และบริเวณดังกล่าว |
|
(7) |
ตรวจตรา ควบคุม ให้ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบท่าอากาศยาน ท่าเรือ หรือท่าขนส่งทางบก ทำการควบคุม กำจัดยุง และพาหะนำโรค ในสถานที่ และบริเวณรอบท่าอากาศยาน ท่าเรือ หรือท่าขนส่งทางบก ในรัศมีสี่ร้อยเมตร ในการนี้ให้เจ้าของหรือผู้อยู่ในบ้าน โรงเรือน หรือสถานที่ในบริเวณดังกล่าว อำนวยความสะดวกในการควบคุมกำจัดยุงและพาหะนำโรค |
|
(8) |
ตรวจตรา ควบคุมการสุขาภิบาลเกี่ยวกับอาหาร น้ำแข็ง เครื่องดื่มหรือน้ำ ให้ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบสถานที่ ทำ ประกอบ ปรุง จับต้อง บรรจุ เก็บ สะสม จำหน่ายอาหาร น้ำแข็ง เครื่องดื่ม หรือน้ำที่นำเข้าไป หรือจะนำเข้าไปในบริเวณท่าอากาศยาน ท่าเรือ หรือท่าขนส่งทางบก ให้ถูกสุขลักษณะ หรือแก้ไขการสุขาภิบาลเกี่ยวกับอาหาร น้ำแข็ง เครื่องดื่มหรือน้ำ ตลอดถึงสถานที่ดังกล่าวให้ถูกสุขลักษณะ |
|
|
|
เมื่อมีโรคติดต่ออันตราย เกิดขึ้นในท้องที่หรือเมืองท่าใด ในต่างประเทศ ให้รัฐมนตรีหรือผู้ซึ่งรัฐมนตรีมอบหมายมีอำนาจประกาศให้ ท้องที่หรือเมืองท่านั้นเป็นเขตติดโรค เมื่อได้ประกาศแล้วให้เจ้าพนักงาน สาธารณสุขประจำด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศมีอำนาจดำเนินการเอง หรือออกคำสั่งเป็นหนังสือให้เจ้าของพาหนะหรือผู้ควบคุมพาหนะที่เข้ามาใน ราชอาณาจักรจากท้องที่หรือเมืองท่านั้น ดำเนินการดังต่อไปนี้ |
|
(1) |
ดำเนินการหรือกำหนดให้ปฏิบัติการใด ๆ เพื่อกำจัดความติดโรค และเพื่อป้องกันการแพร่หลายของโรค |
|
(2) |
จัดให้พาหนะจอดอยู่ ณ สถานที่ที่กำหนดให้จนกว่าเจ้าพนักงาน สาธารณสุขจะอนุญาตให้ไปได้ |
|
(3) |
ให้ผู้เดินทางซึ่งมากับ พาหนะนั้นรับการตรวจในทางแพทย์ และ อาจให้แยกกัก กักกัน คุมไว้สังเกต หรือรับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ณ สถานที่ที่กำหนดให้ |
|
(4) |
ห้ามผู้ใดเข้าไปในหรือออกจากพาหนะนั้น หรือที่เอกเทศ เว้นแต่ ได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานสาธารณสุข |
|
(5) |
ห้ามผู้ใดนำเครื่องอุปโภค บริโภค น้ำดื่ม หรือน้ำใช้ซึ่งเป็นหรือ มีเหตุสงสัยว่าเป็นสิ่งติดโรคเข้าไปในหรือออกจากพาหนะนั้น เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานสาธารณสุข |
|
|
ให้เจ้าของพาหนะหรือผู้ ควบคุมพาหนะเป็นผู้ออกค่าใช้จ่าย ในการขนส่งผู้เดินทางซึ่งมากับพาหนะนั้น เพื่อแยกกัก กักกัน คุมไว้สังเกต หรือรับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ตลอดทั้งค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงดู การรักษาพยาบาล การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ
|
ใน กรณีที่เจ้าพนักงานสาธารณสุขได้ออกคำสั่งให้ผู้ใด ดำเนินการตาม มาตรา 8 (4) (5) (6) หรือ (7) มาตรา 10 (4) มาตรา 13 (4) (6) (7) หรือ (8) หรือ มาตรา 14 (1) (2) หรือ (3) แล้ว ผู้นั้นละเลยไม่ดำเนินการตามคำสั่งภายในเวลาที่กำหนด เจ้าพนักงานสาธารณสุขมีอำนาจดำเนินการแทนได้ โดยให้ผู้นั้นชดใช้ค่าใช้จ่ายในการดำเนินการนั้นตามจำนวนที่จ่ายจริง ทั้งนี้ตามระเบียบที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด
|
ผู้ใดไม่ปฏิบัติตาม มาตรา 7 หรือฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามประกาศหรือคำสั่งของเจ้าพนักงานสาธารณสุขตาม มาตรา 8 (1) (2) (3) (7) (8) (9) (10) (11) หรือ (12) มาตรา 13 มาตรา 14 (5) หรือไม่ให้ความสะดวกแก่เจ้าพนักงานสาธารณสุขตาม มาตรา 13 (4) หรือ (7) ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองพันบาท
|
ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ ปฏิบัติตามประกาศหรือคำสั่งของ เจ้าพนักงานสาธารณสุข ตาม มาตรา 8 (4) (5) หรือ (6) มาตรา 9 มาตรา 10 หรือ มาตรา 14 (3) หรือ (4) ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน หกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ |
ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามประกาศของผู้ว่าราชการจังหวัดตาม มาตรา 12 วรรคสอง ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองพันบาท
|
เจ้าของพาหนะหรือผู้ควบ คุมพาหนะผู้ใดไม่ปฏิบัติตาม คำสั่งของเจ้าพนักงานสาธารณสุขตาม มาตรา 14 (2) ต้องระวางโทษ จำคุกไม่เกินหนึ่งปี หรือปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
|
ให้บรรดากฎกระทรวง ประกาศ และคำสั่งที่ออก ตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พุทธศักราช 2477 พระราชบัญญัติโรคติดต่อ (ฉบับที่ 3) พุทธศักราช 2482 พระราชบัญญัติไข้จับสั่น พุทธศักราช 2485 และพระราชบัญญัติโรคเรื้อน พุทธศักราช 2486 ซึ่งใช้บังคับอยู่ในวันที่พระราชบัญญัตินี้ประกาศในราชกิจจานุเบกษายังคงใช้ บังคับต่อไปได้เท่าที่ ไม่ขัดหรือแย้งกับบทบัญญัติในพระราชบัญญัตินี้ จนกว่าจะมีกฎกระทรวง ประกาศ และคำสั่งที่ออกตามพระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
|
ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวง สาธารณสุขรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ กับให้มีอำนาจแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ออกกฎกระทรวง และกำหนดกิจการอื่นเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
|
|
ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ |
|
หมายเหตุ
|