
- ชมรมเลปโตสไปโรสิสฯ
- ศูนย์เด็กเล็กปลอดโรค
- ข่าวสารสำหรับประชาชนเรื่องโรคติดต่อทั่วไปและภัยสุขภาพ
- ข่าวประชาสัมพันธ์
- จัดซื้อ/จัดจ้าง/เสนอแนะวิจารณ์
- สถานการณ์โรค
- คำรับรองการปฏิบัติราชการ
- ผลการดำเนินงาน
- KM สำนัก ต.
- เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 2559
- ปฏิทินกิจกรรม
- ภาพกิจกรรม
- สื่อ-สิ่งพิมพ์เผยแพร่
- สื่อมัลติมีเดีย
- เว็บลิงค์
- ถาม - ตอบ ข้อสงสัยเกี่ยวกับเว็บสำนักโรคติดต่อทั่วไป
- e-learning
- English Zone
- gcd_cars and drivers
- แบบฟอร์ม



คู่มือการประเมินตนเอง : การพัฒนาสมรรถนะหลักของช่องทางเข้าออกประเทศ ท่าอากาศยาน ท่าเรือ และพรมแดนทางบก
การประเมินตนเอง เป็นกระบวนการที่จัดทำให้หน่วยงานองค์กร ได้ทราบถึงสมรรถนะ จุดอ่อน จุดแข็ง และโอกาสในการพัฒนาของตนเองซึ่งจะทำให้สามารถนำไปใช้ในการวางแผนปรับปรุงหน่วยงานองค์กรให้มี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น รวมทั้งเพิ่มศักยภาพในการบริหารจัดการภายในหน่วยงานให้ดียิ่งขึ้น โดยทั่วไปรูปแบบ จะคล้ายคลึงกับการตอบปัญหาทั่วไปเพื่อวัดสมรรถนะด้านต่างๆ โดยตอบคำถามบนพื้นฐานข้อเท็จจริงที่ปรากฏของ หน่วยงานและทำการให้คะแนนตนเองซึ่งจะทำให้ทราบถึงจุดอ่อนจุดแข็งของหน่วยงาน หลักการสำคัญในการประเมินตนเองเพื่อให้ได้ภาพที่สะท้อนถึงความเป็นจริง การประเมินตนเองนั้นต้องเกิดจากกระบวนการระดมความคิดของทีมหรือคณะทำงานเพื่อร่วมให้คะแนนที่เหมาะสมสำหรับสถานะภาพของหน่วยงานตนเองในปัจจุบัน สาระสำคัญของการประเมินตนเองไม่ใช่คะแนนที่เป็นร้อยละ แต่เป็นผลการประเมินที่เป็นภาพสะท้อนและทราบถึงจุดอ่อนจุดแข็งของหน่วยงานองค์กร เพื่อนำมาใช้ปรับปรุงกระบวนการดำเนินงาน ทั้งนี้ทั้งนั้นการประเมินสมรรถนะตนเองจะต้องทำอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ทราบสถานะภาพในปัจจุบันของหน่วยงานองค์กร

คู่มือปฏิบัติการสร้างพื้นที่ปลอดโรคพิษสุนัขบ้า

ตำราวัคซีนและการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคปี 2556

กฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ.2548
กฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ.2548 คู่มือประเมินสมรรถนะหลักช่องทางเข้าออกประเทศ ท่าอากาศยาน ท่าเรือและพรมแดนทางบก Assessment tool for core capacity requirements at designated airports, ports and ground crossings

แผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุข ท่าเรือกรุงเทพ
แผนตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุข ช่องทางเข้าออกประเทศ ท่าเรือกรุงเทพ ประกอบด้วนเนื้อหา 8 ส่วน

คู่มือประชาชนโรคพิษสุนัขบ้า

แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า และคำถามที่พบบ่อย (ปี 2556)
เป็นแนวทางสำหรับแพทย์ และ บุคลากรทางการแพทย์ ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติเพื่อการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมดูแลรักษาและวินิจฉัยผู้สัมผัสหรือผู้ป่วยโรคพิษสุนัขบ้า เพราะการตัดสินใจให้วัคซีนและ/หรือ อิมมูโนโกลบุลินป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าเป็นสิ่งสำคัญ หากผู้สัมผัสโรคนี้ได้รับการดูแลรักษาไม่ถูกต้องอาจทำให้เสียชีวิตได้ พร้อมคำถาม-คำตอบที่พบบ่อยในการปฏิบัติงาน
